แบบ ฟอร์ม หนังสือ เชิญ วิทยากร

  1. เจน ออ ส เต น
  2. 8 พฤติกรรมเสี่ยงในการแต่งหน้าที่สาวๆควรเลิก พลาดทีชีวิตเปลี่ยน! :: Fiercebook
  3. Excel VBA Basic : แผนดีมีชัยไปกว่าครึ่ง - เทพเอ็กเซล : Thep Excel
  4. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  5. การทำ Data Validation ขั้นพื้นฐาน - เทพเอ็กเซล : Thep Excel

ซึ่งจะเขียนได้ดังนี้ ไปยัง Sheet แบบฟอร์มแล้ว Copy ข้อมูลที่ Link เอาไว้ทั้งแถว หาว่าใน Sheet ตารางกรอกข้อมูล ได้กรอกข้อมูล ล่าสุดถึงบรรทัดไหนแล้ว? เลือก บรรทัดถัดไป คอลัมน์แรกสุด Concept วิธีนี้คือ Copy/Paste ทีละแถว จะเห็นว่าขั้นตอนจะลดลงมาก แถมเขียนง่ายขึ้นเยอะ!

เจน ออ ส เต น

หาคอลัมน์ที่มีชื่อตรงกับชื่อของ Cell ในแบบฟอร์มที่กำลังสนใจ (จากข้อมูล 2. 1) โดยอาจใช้ฟังก์ชั่น MATCH แบบ Exact Match มาช่วยได้ เลือกพิกัดที่ตรงกับแถวที่ต้องการ (จากข้อมูล 2. 3) และคอลัมน์ที่ต้องการ (จากข้อมูล 2. 4) ไล่จนครบทุกชื่อ ทั้ง 2-3 วิธีที่บอกไปก็ยังดูยุ่งยากอยู่ มันมีวิธีดีกว่านี้มั้ยนะ? ลองมาดูวิธีถัดไปกันครับ ปรับแนวคิดใหม่หมด!

8 พฤติกรรมเสี่ยงในการแต่งหน้าที่สาวๆควรเลิก พลาดทีชีวิตเปลี่ยน! :: Fiercebook

ผมได้พูดถึงเรื่องของ 10 Concepts เริ่มต้นเรียนรู้การเขียนโปรแกรมด้วย Excel VBA ซึ่งเป็นการเกริ่นนำภาพรวมการใช้ VBA ใน Excel ไปแล้ว วันนี้ผมจะขอลงรายละเอียดถึง Step แรก นั่นก็คือ ขั้นของ งานวางแผน/ออกแบบ ซึ่งเป็นหัวใจที่สำคัญที่สุดของการเขียนโปรแกรมนั่นเอง งานวางแผนนี้ ถ้าจะเปรียบเทียบให้เห็นภาพเข้าใจง่ายๆ ผมอยากให้คุณจินตนาการตามนี้ครับ… เมื่อคุณมีผู้ช่วยเป็น Superman ถ้าในทีมของคุณมีพนักงานใหม่ที่ทำงานเร็วปรื๊ด (ระดับเดียวกับ Superman) เข้ามาช่วยงานคุณ ซึ่งพนักงานใหม่คนนี้ยอมให้คุณสั่งทำงานอะไรก็ได้ (ขอให้เป็นงานที่ทำใน Excel นะ…) ทำงานถึกแค่ไหนก็ยอม… มันคงสุดยอดไปเลยใช่มั้ยครับ? แต่ปัญหาติดอยู่อย่างเดียวครับ คือ พนักงานคนนี้ไม่เข้าใจในงานที่ทำแม้แต่น้อย คิดเองก็ไม่เป็น ทำตามคำสั่งได้อย่างเดียว แล้วคุณต้องบอกให้ละเอียดๆ ด้วยนะ บอกแค่ไหนทำแค่นั้นเลยเอ้า! ผมจะบอกว่า… ถ้าคุณหาวิธีสั่งเจ้าพนักงานใหม่ที่ทำงานตรงๆ ซื่อๆ ทื่อๆ คนนี้ได้ คุณก็สั่งงาน VBA ใน Excel ได้ครับ เพราะ VBA มันทำตัวแบบนี้เป๊ะเลย!

Excel VBA Basic : แผนดีมีชัยไปกว่าครึ่ง - เทพเอ็กเซล : Thep Excel

จะเห็นว่าเราเริ่มมีการเช็คเงื่อนไขแล้ว (ในที่นี้เช็คว่ามีการเลือกสีแล้วหรือยัง? ) ซึ่งการสั่งให้ทำงานตามเงื่อนไขเป็นสิ่งที่ต้องทำเป็นประจำในการเขียนโปรแกรมเลยครับ! เดี๋ยวตัวอย่างถัดไปเป็นตัวอย่างสุดท้าย ซึ่งจะซับซ้อนมากขึ้นแล้วครับ ตัวอย่าง 3: เอาข้อมูลที่กรอกบนฟอร์มไปเพิ่มลง Database คำเตือน! ตัวอย่างนี้ค่อนข้างซับซ้อน ค่อยๆ ดูและค่อยๆ คิดตามนะครับ แม้ว่า Excel จะมีเครื่องมือกรอกฟอร์มให้อยู่แล้ว แต่มันก็หน้าตาไม่สวยเอาซะเลย หัวหน้าคุณก็เลยเดินมาสั่งอีกแล้วว่า… "อยากให้สามารถสร้างฟอร์มกรอกข้อมูลบน Sheet Excel โดยเมื่อผู้ใช้งานกรอกข้อมลแล้วกดปุ่ม Submit ปุ๊ป มันก็สามารถเอาข้อมูลที่ User กรอกไปเก็บไว้ใน Table ที่อยู่อีก Sheet หนึ่งได้เลย (ให้ไปใส่ในบรรทัดต่อจากข้อมูลเดิมที่มีอยู่แล้ว) จากนั้นข้อมูลเดิมบนฟอร์มก็จะถูกลบทิ้งเพื่อให้ฟอร์มพร้อมสำหรับกรอกข้อมูลชุดถัดไป" ในข้อนี้จะเริ่มซับซ้อนมากขึ้นแล้ว ขอให้ค่อยๆ คิดนะครับ ถ้าเราสามารถสั่งผู้ช่วยได้เราจะสั่งว่ายังไงได้บ้าง? แนวคิดแรก: การ Copy ทีละช่อง ถ้าคิดดูแล้วน่าจะสั่งประมาณนี้จริงมั้ยครับ? ไปยัง Sheet แบบฟอร์มแล้ว เลือก Cell ที่ต้องการ Copy Copy ข้อมูลที่กรอกไว้ ไป Sheet ตารางกรอกข้อมูล แล้ว เลือก Cell ที่ต้องการ Paste ลง Paste ข้อมูลที่ Copy เอาไว้ ทำแบบนี้ไปเรื่อยๆ จนครบทุกช่อง สุดท้ายก็สั่งลบข้อมูลในแบบฟอร์มทิ้ง (โดยใช้ชุดคำสั่งที่สร้างในตัวอย่างที่ 1 ได้เลย) Concept วิธีนี้คือ ไล่ Copy/Paste ทีละช่อง ซึ่งดูเหมือนง่ายๆ แต่ ความยากมันอยู่ที่ การเลือก Cell ที่ต้องการ Copy / Paste แหละครับ!

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

เพราะช่องเหล่านั้นมันจะต้องเลื่อนตำแหน่งไปเรื่อยๆ (ถ้าไม่เลื่อนมันก็ Copy ค่าเดิมมาทับตลอด ซึ่งผิดแน่นอน) แต่คราวนี้จะทำให้มันเลื่อนยังไงดี? วิธีก็มีหลากหลายครับ สำหรับคนที่รู้เรื่อง Excel น้อยหน่อย อาจถึงขนาดต้องหาว่าช่องไหนคือช่องล่าสุดที่ Copy ข้อมูลไปแล้ว ช่องไหนเป็นช่องล่าสุดในฐานข้อมูลที่กรอกข้อมูลไปแล้ว? ซึ่งเป็นเรื่องยากมากพอสมควรเลยครับ! (รู้ Excel น้อย ก็ต้องใช้ Logic ส่วนตัวมาก ซึ่งยากกกกก) สำหรับคนที่รู้ Excel มากขึ้นมาหน่อย ก็ทำได้หลากหลายครับ เช่น วิธีการใช้ Tab หากเรามีความรู้ว่า การจะไล่แต่ละช่องบนแบบฟอร์มที่มีการ Protect ไว้แล้ว สามารถใช้ปุ่ม Tab บน Keyboard ช่วยได้ (มันจะไม่ไปเลือกช่องที่ไม่ใช่ช่องกรอกข้อมูล) เช่นเดียวกับการไล่ช่องบนฐานข้อมูลที่ถูกสร้างเป็น Table แล้ว มัน ก็สามารถใช้ Tab ช่วยได้ (มันจะเลื่อนจากซ้ายไปขวา แถมยังขึ้นบรรทัดใหม่ให้เองได้ด้วย! ) พอรู้แบบนี้แล้วก็สามารถเขียน Code ได้ง่ายขึ้นมากๆถ้าสนใจแนวทางการเขียน ก็จะเป็นดังนี้ (คนที่ไม่อยากรู้ ข้ามได้ครับ) หาว่ามีแบบฟอร์มที่ให้กรอกทั้งหมดกี่ช่อง หาว่าใน Sheet ตารางกรอกข้อมูล ได้กรอกข้อมูลล่าสุดถึงบรรทัดไหนแล้ว?

การทำ Data Validation ขั้นพื้นฐาน - เทพเอ็กเซล : Thep Excel

  1. '#ไอโฟน11ราคาล่าสุด 2563 ais' แฮชแท็ก ThaiPhotos: 27 ภาพ
  2. Huawei y5 prime 2019 ราคา vs
  3. Gangnam blues 2015 ซับ ไทย 1
  4. ราคา น้ํา มัน หอย แกลลอน
  5. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี
  6. ร้านมังกรเทพ เนื้อย่างชื่อดังในลำปลายมาศ
  7. Beat studio 3 wireless ราคา
  8. ฟ อ ร์ ด เร น เจอร์ 2009.html

สิ่งที่โปรแกรมต้องทำ ให้คุณจินตนาการว่า เมื่อคุณกดปุ่มลบข้อมูลแล้ว (การกดปุ่มเป็น Event แบบหนึ่งที่จะสั่งให้ Code VBA ทำงานได้ อย่างที่บอกไว้ ใน Concept ุข้อ 6) พนักงานใหม่คนนี้มาช่วยทำงานด้วยความเร็วระดับ Superman ให้… คุณจะสั่งคนนี้ยังไงดีครับ? ให้เวลาคิด.. ติ๊กต้อก….. จะเห็นว่างานนี้มีแค่ 2 ขั้นตอนหลักๆ คือ เลือกช่องที่อยากจะให้ Clear ค่าทิ้ง กดลบข้อมูลทิ้ง ง่ายๆ แค่นี้เองครับ! ถ้าลงรายละเอียดมากหน่อยก็อาจเป็นขั้นตอนในการเลือกช่องที่อยากจะ Clear ค่าข้างในทิ้งนี่แหละ ว่าเราจะทำแบบไหนดี เช่น ใช้เม้าส์เลือกช่วงที่เป็นช่องกรอกข้อมูลโดยดูเอาว่าช่องไหนระบายสีบ้าง (ใช้ Ctrl หรือ Shift เพื่อเลือกเป็น Range ได้) หรือ ใช้เครื่องมือ Find เลือกช่องที่ไม่ได้ถูก Protect Cell เอาไว้ จากนั้นสร้างเป็น Define Name เพื่อให้นำไปสั่งงานต่อใน VBA ได้สะดวก แต่ไม่ว่าจะทำด้วยวิธีไหน หลักการมันก็แค่เลือกช่อง แล้วลบ เท่านั้นเอง ไม่เห็นมีอะไรยากเลยเนอะ!

(Error Alert) Dropdown List แต่ที่เจ๋งและใช้บ่อยสุดๆ คือ Settings ที่ชื่อว่า List ซึ่ง สามารถทำเป็น Dropdown List เพื่อช่วยให้ผู้ใช้งานทำงานได้สะดวกมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ใครทำ Dropdown List ได้แล้ว สนใจอยากทำ Dropdown List หลายชั้น อ่านได้ที่นี่ Data Validation ขั้นสูง นอกจากนี้ ยังสามารถกรอก เงื่อนไขเป็นสูตร ได้ด้วยการเลือก Settings เป็น Custom โดยหลักการคือ จะยอมให้กรอกค่าได้ก็ต่อเมื่อสูตรที่ใส่มีค่าเป็นจริงเท่านั้น (ถ้าเป็นเท็จจะขึ้นเตือน) เช่นรูปข้างล่าง ผมใส่เงื่อนไขว่าต้องนับแต่ละคำได้ไม่เกิน 1 ครั้ง ( รายละเอียดวิธีทำ อ่านได้ที่นี่) แชร์ความรู้ให้เพื่อนๆ ของคุณ 9

  1. ปริมาณ การ ขนส่ง สินค้า ภายใน ประเทศ 256 mo
  2. A day 2017 ซับ ไทย watch