ภาษีเงินได้ หัก แบบ ฟอร์ม หัก ณ ที่ จ่าย

  1. มูลนิธิ และ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย จำเป็นหรือไม่ ฉบับเข้าใจง่าย - AccountPRO
  2. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)
  3. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย

อีกหนึ่งเรื่องภาษีที่เกี่ยวข้องกับคนทำธุรกิจในวันนี้ เรามาทำความเข้าใจกับภาษีที่มักจะกลายมาเป็นปัญหาชีวิตโดยไม่ได้ตั้งใจ เพราะไม่รู้ว่าจะต้องทำอะไรยังไงบ้าง นั่นคือ เรื่องของ ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย นั่นเองครับ ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คือ อะไร?

มูลนิธิ และ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย จำเป็นหรือไม่ ฉบับเข้าใจง่าย - AccountPRO

2561 ซึ่งจะใช้บังคับสำหรับมูลนิธิที่ได้ยื่นคำขอเป็นลายลักษณ์อักษรต่อกรมสรรพากรตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.

แบบคำร้อง/คำขอ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ลำดับ ชื่อย่อ ชื่อเต็ม ดาวน์โหลด 1. ป. 01 แบบคำขอแก้ไขข้อมูลภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย PDF | ZIP 2. ส่วนที่ 2 ป. 01 ส่วนที่ 2 รายละเอียดข้อมูลที่ขอแก้ไขในใบแนบแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย PDF | ZIP 3. 02 แบบคำขออนุโลมการยื่นแบบกรณีใช้แบบผิดประเภท PDF | ZIP 4. 02 ส่วนที่ 2 รายละเอียดข้อมูลที่ขออนุโลมใบแนบแบบยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย PDF | ZIP 5. - หนังสือแจ้งความตามประมวลรัษฎากร PDF | ZIP 6. ศก. 1 บัญชีนำส่งแฟ้มเอกสารเพื่อจัดเก็บ PDF | ZIP

ศ. 2509 พระราชบัญญัติฌาปนกิจสงเคราะห์ พ. 2517 พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ. 2518 แล้วทั้งมูลนิธิหรือสมาคมต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือไม่? ทั้งนี้รายได้ที่ได้รับจากค่าลงทะเบียนหรือค่าบำรุงต่างๆ ที่ได้รับจากสมาชิก หรือเงินรวมถึงทรัพย์สินที่ได้รับจากการบริจาค การให้โดยเสน่หา ไม่ต้องนำไปรวมคำนวณเป็นรายรับในการเสียภาษี แต่หากมูลนิธิและสมาคมที่เข้าข่ายต้องเป็นผู้ประกอบการ ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีธุรกิจเฉพาะ ก็มีหน้าที่ต้องเสียภาษีดังกล่าวด้วย ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายแล้วมูลนิธิและสมาคมต่างๆ ต้องจ่ายด้วยเหรอ?

แบบ ฟอร์ม หัก ภาษี ณ ที่ จ่าย excel

ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)

ในมุมมองของสรรพากร มูลนิธิและสมาคมเป็นอย่างไรกันนะ?

  • ชีส แผ่น ราคา ถูก สุด
  • มูลนิธิ และ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย จำเป็นหรือไม่ ฉบับเข้าใจง่าย - AccountPRO
  • ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย | กรมสรรพากร - The Revenue Department (rd.go.th)
  • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย

ในแง่ของธุรกิจ สิ่งที่ควรนำมาพิจารณานั้น อยากให้เริ่มต้นจากหลักการสั้น ๆ ตามนี้ครับ คนรับเงินเป็นใคร? : มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ไหม ถ้าไม่มีหน้าที่ ไม่ต้องหัก กฎหมายกำหนดให้ต้องหักภาษีหรือไม่: ถ้าไม่ได้กำหนดให้คนจ่ายเงินหักภาษี แบบนี้ก็ไม่ต้องหัก โป๊ะเชะ! สั้น ๆ ง่ายแบบนี้เองเหรอเนี่ย แต่จริง ๆ สิ่งที่สำคัญคือ เราต้องรู้ด้วยครับว่า เงินที่เราจ่ายนั้นมันเป็นเงินได้ประเภทไหนตามกฎหมาย จะได้หักได้ถูกต้องและไม่ผิดอัตราครับ สำหรับข้อมูลของกฎหมายที่กำหนดไว้ว่าต้องหักภาษีหรือไม่นั้น เราสามารถหาดูได้ง่าย ๆ จากรายละเอียดในเว็บไซต์สรรพากรเลยครับ โดยผมลองค้นหา Google มาให้ดูกันครับว่า ในเว็บไซต์กรมสรรพากรนั้นมีตารางภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายบอกเราด้วยครับ หรือดู ประเภทหัก ณ ที่จ่ายที่พบบ่อย ได้ที่บทความก่อนหน้านี้ของ FlowAccount ครับ ตารางสรุปภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย – กรมสรรพากร ดูภาพขนาดใหญ่คลิกที่นี่! ยกตัวอย่างเช่น ธนาคารแห่งหนึ่งจ่ายค่าดอกเบี้ยเงินฝากให้กับนายบักหนอม ก็จะถือว่ามีหน้าที่จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ ในอัตรา 15% ของดอกเบี้ยที่จ่าย และนำส่งด้วยแบบแสดงรายการภ. ง. ด. 2 ให้กับกรมสรรพากรครับ เอ๊ะ… จะนำส่งอะไรยังไงแบบไหนให้สรรพากร เมื่อหักเสร็จแล้ว ให้นำส่งพี่ ๆ สรรพากร ซึ่งโดยปกติจะใช้แบบแสดงรายการประเภทต่าง ๆ ตามประเภทของเงินได้ครับ ตามตัวอย่างด้านล่างนี้ครับ ประเภทเงินได้พึงประเมิน ผู้จ่ายเงินได้ แบบแสดงรายการ (เดือน) แบบแสดงรายการ (สรุป) มาตรา 40 (1) และ 40 (2) ทุกประเภท ภ.

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หัก ณ ที่จ่าย

#ภาษี10นาที Ep. 1: ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร คิดแบบไหน ต้องทำอะไรบ้าง? - YouTube

แบบที่ใช้ในการนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และบทกำหนดโทษกรณีปฏิบัติไม่ถูกต้อง 1. แบบ ภ. ง. ด. 3 เป็นแบบที่ใช้สำหรับการยื่นรายการ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ซึ่งผู้รับเงินเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ทั้งนี้ตามมาตรา 59 กรณีหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา50(3)(4)(5) และมาตรา 3 เตรส สำหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(5)(6)(7)(8) และการเสียภาษีตามมาตรา 48 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร 2. 53 เป็นแบบที่ใช้สำหรับการยื่นรายการ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ซึ่งผู้รับเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ทั้งนี้ ตามมาตรา 3 เตรส และมาตรา 69 ทวิ และการเสียภาษีตามมาตรา 65 จัตวา แห่งประมวลรัษฎากร 1. ถ้าผู้จ่ายเงิน ซึ่งมีหน้าที่หัก ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย มิได้หักและนำเงินส่ง หรือได้หักและนำเงินส่งแล้วแต่ไม่ครบจำนวนที่ถูกต้อง ผู้จ่ายเงินต้องรับผิดร่วมกับผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่ต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หัก และนำส่ง หรือตามจำนวน เงินที่ขาดไปแล้วแต่กรณี ในกรณีที่ผู้จ่ายเงินได้หักภาษี ณ ที่จ่ายไว้แล้ว ให้ผู้มีเงินได้ซึ่งต้องเสียภาษีพ้นความรับผิดที่จะชำระเงินภาษีเท่าจำนวนที่ผู้จ่ายเงินได้หักไว้ และให้ผู้จ่ายเงินรับผิดชำระภาษีจำนวนนั้นแต่ฝ่ายเดียว (มาตรา 54 แห่งประมวลรัษฎากร) 2.

1 ภ. 1ก มาตรา 40 (3) และ 40 (4) ทุกประเภท ภ. 2 ภ. 2ก มาตรา 40 (5) – (8) ทุกประเภท ภ. 3 – ทุกประเภท (มาตรา 3 เตรส) ทุกประเภท (มาตรา 3 เตรส) ภ. 3 และ ภ. 53 – โดยปกติแล้วจะต้องนำส่งภายใน 7 วันนับตั้งแต่วันสิ้นเดือนที่มีการหักภาษีไว้ หรือเรียกง่าย ๆ ก็คือถ้าเดือนไหนมีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ก็ให้นำส่งภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไปครับผม สำหรับตอนนี้เราก็มาทำความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายแล้วนะครับ ในตอนต่อไปผมจะอธิบายเรื่องของการหักภาษี ณ ที่จ่ายด้วยตัวอย่างเพิ่มเติมที่ชัดเจนมากขึ้นอีกสักตัวอย่างให้ดูกันครับผม ติดตามเรื่องราวอื่นๆ ได้ที่ สมัครทดลองใช้ โปรแกรมบัญชีออนไลน์ ฟรี รับฟรี! Premium Package 30 วัน กรุณากรอก อีเมล กรุณากรอกรหัสผ่าน